+ เว็บไซต์สำนักในสังกัด สพฐ. + สำนักอำนวยการ .. กลุ่มประชาสัมพันธ์ .. กลุ่มออกแบบและก่อสร้าง .. สำนักงานลูกเสือ สพฐ. .. กลุ่มสวัสดิการและสิทธิเด็ก สพฐ สำนักนโยบายและแผนฯ .. กลุ่มสารสนเทศ .. โปรแกรม EIS .. ศูนย์ปฏิบัติการ สพฐ. .. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ... โรงเรียนขนาดเล็ก สำนักติดตามและประเมินผล สำนักพัฒนาระบบบริหาร .. กลุ่มประเมินผลงานทางวิชาการ .. ศูนย์ประสานราชการใสสะอาด .. กลุ่มวิจัยพัฒนากฎหมายฯ .. กลุ่มวิจัยเสริมสร้างพัฒนาวินัยฯ สำนักการคลังและทรัพย์สิน สำนักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน .. Digital Learning Gateway .. ห้องเรียนทันข่าว สำนักพัฒนานวัตกรรม ฯ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักวิชาการและมาตรฐาน สำนักทดสอบทางการศึกษา .. ศูนย์ปฏิบัติการ GPA สำนักพัฒนาครูและบุคลากรการศึกษา สำนักผู้เชี่ยวชาญ สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน .. สภานักเรียนไทย หน่วยตรวจสอบภายใน สถาบันภาษาอังกฤษ สำนักพัฒนาการศึกษาฯ ภาคใต้ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
"เครือข่ายความคิด พันธมิตรความรู้" เว็บไซต์แมงมุม ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 3 จัดทำขึ้น เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมคลังความรู้ ของบุคลากรในสังกัด ในส่วนทั้งโรงเรียนและเขตพื้นที่ เพื่อประโยชน์ในการแลกเปลี่ยน แบ่งปัน ร่วมกันเรียนรู้ เป็นเครือข่ายที่มีสายสัมพันธ์อันเกิดจากมิตรภาพที่ร่วมกันสาน และทักถอ โยงใยเหนียวแน่น ดุจดังใยแมงมุม ด้วยมุ่งหวังที่จะร่วมกันพัฒนา สรรค์สร้าง "เด็กไทย" ให้เป็นคนดีของสังคม เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ เป็นกำลังที่ยิ่งใหญ่ในการที่จะพัฒนาสังคมไทยให้เติบโต โดดเด่น เป็นที่ยอมรับในระดับโลก เพื่อสามารถเพิ่มเติมความคิด ในขุมความรู้ต่างๆ ได้
คลิกเพื่อสมัครเป็นสมาชิกเว็บไซต์
๑ . ส่วน “ หัวปลา” (Knowledge Vision- KV) หมายถึง ส่วนที่เป็นเป้าหมาย วิสัยทัศน์ หรือทิศทางของการจัดการความรู้ โดยก่อนที่จะทำจัดการความรู้ ต้องตอบให้ได้ว่า “ เราจะทำ KM ไปเพื่ออะไร ?” โดย “ หัวปลา” นี้จะต้องเป็นของ “ คุณกิจ” หรือ ผู้ดำเนินกิจกรรม KM ทั้งหมด โดยมี “ คุณเอื้อ” และ “ คุณอำนวย” คอยช่วยเหลือ ๒ . ส่วน “ ตัวปลา” (Knowledge Sharing-KS) เป็นส่วนของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ซึ่งถือว่าเป็นส่วนสำคัญ ซึ่ง “ คุณอำนวย” จะมีบทบาทมากในการช่วยกระตุ้นให้ “ คุณกิจ” มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความรู้ โดยเฉพาะความรู้ซ่อนเร้นที่มีอยู่ในตัว “ คุณกิจ” พร้อมอำนวยให้เกิดบรรยากาศในการเรียนรู้แบบเป็นทีม ให้เกิดการหมุนเวียนความรู้ ยกระดับความรู้ และเกิดนวัตกรรม ๓ . ส่วน “ หางปลา” (Knowledge Assets-KA) เป็นส่วนของ “ คลังความรู้” หรือ “ ขุมความรู้” ที่ได้จากการเก็บสะสม “ เกร็ดความรู้” ที่ได้จากกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ ตัวปลา” ซึ่งเราอาจเก็บส่วนของ “ หางปลา” นี้ด้วยวิธีต่างๆ เช่น ICT ซึ่งเป็นการสกัดความรู้ที่ซ่อนเร้นให้เป็นความรู้ที่เด่นชัด นำไปเผยแพร่และแลกเปลี่ยนหมุนเวียนใช้ พร้อมยกระดับต่อไป อ่านต่อ..........